ทำความรู้จักชุดดับเพลิง ของชุดผจญเพลิง ประกอบด้วยอะไรบ้าง ?
- บทความ
- ความปลอดภัย
- โพสต์เมื่อ 08 มี.ค 2565
- อ่านแล้ว 4,630 คน
ทำความรู้จักชุดดับเพลิง ของผจญเพลิง ประกอบด้วยอะไรบ้าง?
หากจะพูดถึงอาชีพที่ต้องเสี่ยงภัยอัตรายแล้วละก็ นักดับเพลิง คือหนึ่งในอาชีพ ที่จัดว่าอยุ่ในกลุ่มอาชีพเสี่ยงอัตรายอันดับต้นๆ เพราะต้องใช้พลังใจที่รัก และความกล้าหาญในการทำงาน แต่หากจะใช้แค่ใจอย่างเดียวก็คงไม่พอ เจ้าหน้าที่ดับเพลิงยังต้องการชุดอุปกรณ์ที่สามารถป้องกัน และช่วยเซฟตี้พวกเขาในระหว่างปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างดีอีกด้วย เพราะชีวิตจริงของเราไม่ได้เหมือนอยู่ในภาพยนต์ ที่มีฮีโร่จอมพลัง มีร่างกายที่แข็งแรงทนทานต่ออันตรายทุกชนิด โดยไม่ต้องใส่อุปกรณ์ป้องกันใดๆ เลย ชุดดับเพลิง อุปกรณ์ในการดับเพลิง จึงเป็นสิ่งสำคัญ หากพูดถึงชุดที่ป้องกันที่ใช้ จะมีด้วยกัน 4 แบบคือ ชุดดับเพลิงนอกอาคาร ชุดดับเพลิงในอาคาร ชุดป้องกันสารเคมี และชุดป้องกันเชื้อโรคในยามที่เกิดโรคระบาด ซึ่งชุดสุดท้ายจะอยู่ที่กรมควบคุมและป้องกันโรค ไม่ได้อยู่ประจำสถานีดับเพลิงแต่อย่างใด
วันนี้เราจะพาทุกท่านมาทำความรู้จัก ชุดดับเพลิง ในการเข้าไปดับเพลิงนอกจากอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับดับเพลิง เช่น เครื่องดับเพลิงชนิดต่างๆ สายส่งน้ำดับเพลิง หัวฉีดน้ำ และอื่นๆนั้น นักผจญเพลิงต้องสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองป้องกันร่างกาย ได้นั้นคือ ชุดดับเพลิงใน ประกอบด้วย
1.หมวกดับเพลิง เป็นอุปกรณ์ป้องกันศีรษะในขณะเข้าดับเพลิง ต้องมีคุณคุณภาพอย่างน้อยตามมาตรฐาน มอก.368 (Safety hat type D) มีสีสันสดใส หรือต้องมีติดแถบสะท้อนแสงที่ด้านนอกสำหรับอุปกรณ์ป้องกันศีรษะที่มีสีมืดทึบ ต้องมีความแข็งแรง ทนต่อการกระแทกของเศษวัสดุได้ และต้องมีกระบังหน้าเพื่อป้องกันความร้อนและอันตรายต่ออวัยวะบริเวณใบหน้าได้ ซึ่งหมวกส่วนใหญ่ทำจากไฟเบอร์กลาส ทำให้มีน้ำหนักเบา
2.ผ้าคลุมศีรษะ (Hood) เป็นฮู้ดสำหรับคลุมศีรษะ ทำหน้าที่ป้องกันความร้อนจากเปลวเพลิง สามารถกันความร้อน ผลิตจากผ้ากันไฟ ที่มีความทนต่อเปลวเพลิง ไม่ติดไฟ ไม่ไหม้ลุกลาม และซับเหงื่อได้ดี ทั้งยังสามารถระบายอากาศได้ดี
3.เสื้อคลุมดับเพลิง ใช้สำหรับใส่คลุมทับเครื่องแต่งกายหรือเครื่องแบบที่ใช้ ส่วนใหญ่ใช้ภายนอกอาคาร กันรังศีความร้อนจากเปลวไฟ และหยดน้ำที่ความร้อนได้ มีสีที่มองเห็นได้ชัดเจนหรือมีแถบสีสะท้อนแสงติดอยู่ที่บริเวณแขน ลำตัวเสื้อคลุม เนื้อผ้าอาจเป็นผ้าใบโทเรที่มีคุณสมบัติป้องกันความร้อน ด้านในซับด้วยผ้าอีกชั้นหนึ่ง ความยาวของตัวเสื้อคลุมถึงบริเวณเขา
4.ชุดดับเพลิง(ภายในอาคาร) เสื้อและกางเกงของชุดดับเพลิงเป็นส่วนที่สำคัญมาก เพราะเป็น 80% ที่ใช้ปกปิดร่างกายจากเปลวเพลิง ซึ่งมีผ้าทอและผ้าใยสังเคราะห์ประกอบอยู่รวมไม่น้อยกว่า 3 ชั้น ตัวเนื้อผ้าเมื่อน้ำมาตัดเย็บเป็นตัวเสื้อและกางเกงแล้ว ต้องมีความคงทน มีโครงสร้างที่แข็งแรงทนความร้อนอยู่ที่ 500 องศาเซลเซียส โดยไม่หลอมละลาย ไม่ลุกติดไฟ หรือเปลี่ยนรูป ตัวชุดต้องได้รับรองมาตรฐาน EN 469 หรือมาตรฐาน NFPA และมีแถบสะท้อนแสงอย่างน้อยเทียบเท่า 3 m หรือดีกว่า สีเหลืองมะนาวโดยมีแถบสะท้อนแสงสีเทาตัดชนิดกันไฟอยุ่บริเวณด้านหน้า ด้านหลัง ปลายแขน ข้อศอกทั้ง 2 ฝั่ง ปลายขาทั้ง 2 ข้างเป็นต้น
5.ถุงมือดับเพลิง มักจะใช้เป็นถุงมือชนิดผ้าขนสัตว์อย่างหนาหรือ อย่างบาง และต้องเป็นชนิดแบบสวมทั้ง 5 นิ้ว มีความทนทานต่อความร้อน เปลวไฟ รวมถึงน้ำร้อน สารเคมี และการบาดเฉือนได้ เพราะการหยิบจับอุปกรณ์และสิ่งต่างๆ ในที่เกิดเหตุอาจมีความร้อน หรือมีความแหลมคมอยู่
6.รองเท้าดับเพลิง มีทั้งบู๊ตชนิดหนังแท้ หนัง ใช้ใส่เมื่อเข้าผจญเพลิง พื้นรองเท้ามีแผ่นเหล็ก เป็นเหล็กสปริง หัวรองเท้าหุ้มด้วยเหล็กเช่นเดียวกัน ตามมาตรฐาน มอก. 523 เกี่ยวกับมาตรฐานอุตสาหกรรมผลิตรองเท้าหนังนิรภัย เพื่อแยกชั้นการซับความร้อน กันน้ำ(ร้อน) ที่มีตัวพื้นรองใน หรือวัสดุหุ้มแยกระหว่างตัวหุ้มรองเท้ากับพื้นรองเท้า เพราะในที่เกิดเหตุอาจมีวัสดุแหลมคมแทงทะลุได้
ดังนั้นการปฏิบัติหน้าที่ของนักผจญเพลิงจึงเป็นเรื่องที่อัตรายอย่างมาก ในการช่วยผู้คน ฉะนั้นชุดของพวกเขาเหล่านี้จึงมีความสำคัญ และเราควรเลือกชุดที่ได้มาตรฐานรับรอง ผ่านการทดสอบจากสถาบันระดับสากล เพื่อให้มั่นใจว่าจะสามารถป้องกันชีวิตของเจ้าหน้าที่ผจญเพลิงได้
อีกช่องทางสอบถาม หรือขอใบเสนอราคา
https://www.facebook.com/PPEMATE.Safety
Line : @ppemate หรือคลิก https://lin.ee/yyfFLmS
หากจะพูดถึงอาชีพที่ต้องเสี่ยงภัยอัตรายแล้วละก็ นักดับเพลิง คือหนึ่งในอาชีพ ที่จัดว่าอยุ่ในกลุ่มอาชีพเสี่ยงอัตรายอันดับต้นๆ เพราะต้องใช้พลังใจที่รัก และความกล้าหาญในการทำงาน แต่หากจะใช้แค่ใจอย่างเดียวก็คงไม่พอ เจ้าหน้าที่ดับเพลิงยังต้องการชุดอุปกรณ์ที่สามารถป้องกัน และช่วยเซฟตี้พวกเขาในระหว่างปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างดีอีกด้วย เพราะชีวิตจริงของเราไม่ได้เหมือนอยู่ในภาพยนต์ ที่มีฮีโร่จอมพลัง มีร่างกายที่แข็งแรงทนทานต่ออันตรายทุกชนิด โดยไม่ต้องใส่อุปกรณ์ป้องกันใดๆ เลย ชุดดับเพลิง อุปกรณ์ในการดับเพลิง จึงเป็นสิ่งสำคัญ หากพูดถึงชุดที่ป้องกันที่ใช้ จะมีด้วยกัน 4 แบบคือ ชุดดับเพลิงนอกอาคาร ชุดดับเพลิงในอาคาร ชุดป้องกันสารเคมี และชุดป้องกันเชื้อโรคในยามที่เกิดโรคระบาด ซึ่งชุดสุดท้ายจะอยู่ที่กรมควบคุมและป้องกันโรค ไม่ได้อยู่ประจำสถานีดับเพลิงแต่อย่างใด
วันนี้เราจะพาทุกท่านมาทำความรู้จัก ชุดดับเพลิง ในการเข้าไปดับเพลิงนอกจากอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับดับเพลิง เช่น เครื่องดับเพลิงชนิดต่างๆ สายส่งน้ำดับเพลิง หัวฉีดน้ำ และอื่นๆนั้น นักผจญเพลิงต้องสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองป้องกันร่างกาย ได้นั้นคือ ชุดดับเพลิงใน ประกอบด้วย
1.หมวกดับเพลิง เป็นอุปกรณ์ป้องกันศีรษะในขณะเข้าดับเพลิง ต้องมีคุณคุณภาพอย่างน้อยตามมาตรฐาน มอก.368 (Safety hat type D) มีสีสันสดใส หรือต้องมีติดแถบสะท้อนแสงที่ด้านนอกสำหรับอุปกรณ์ป้องกันศีรษะที่มีสีมืดทึบ ต้องมีความแข็งแรง ทนต่อการกระแทกของเศษวัสดุได้ และต้องมีกระบังหน้าเพื่อป้องกันความร้อนและอันตรายต่ออวัยวะบริเวณใบหน้าได้ ซึ่งหมวกส่วนใหญ่ทำจากไฟเบอร์กลาส ทำให้มีน้ำหนักเบา
2.ผ้าคลุมศีรษะ (Hood) เป็นฮู้ดสำหรับคลุมศีรษะ ทำหน้าที่ป้องกันความร้อนจากเปลวเพลิง สามารถกันความร้อน ผลิตจากผ้ากันไฟ ที่มีความทนต่อเปลวเพลิง ไม่ติดไฟ ไม่ไหม้ลุกลาม และซับเหงื่อได้ดี ทั้งยังสามารถระบายอากาศได้ดี
3.เสื้อคลุมดับเพลิง ใช้สำหรับใส่คลุมทับเครื่องแต่งกายหรือเครื่องแบบที่ใช้ ส่วนใหญ่ใช้ภายนอกอาคาร กันรังศีความร้อนจากเปลวไฟ และหยดน้ำที่ความร้อนได้ มีสีที่มองเห็นได้ชัดเจนหรือมีแถบสีสะท้อนแสงติดอยู่ที่บริเวณแขน ลำตัวเสื้อคลุม เนื้อผ้าอาจเป็นผ้าใบโทเรที่มีคุณสมบัติป้องกันความร้อน ด้านในซับด้วยผ้าอีกชั้นหนึ่ง ความยาวของตัวเสื้อคลุมถึงบริเวณเขา
4.ชุดดับเพลิง(ภายในอาคาร) เสื้อและกางเกงของชุดดับเพลิงเป็นส่วนที่สำคัญมาก เพราะเป็น 80% ที่ใช้ปกปิดร่างกายจากเปลวเพลิง ซึ่งมีผ้าทอและผ้าใยสังเคราะห์ประกอบอยู่รวมไม่น้อยกว่า 3 ชั้น ตัวเนื้อผ้าเมื่อน้ำมาตัดเย็บเป็นตัวเสื้อและกางเกงแล้ว ต้องมีความคงทน มีโครงสร้างที่แข็งแรงทนความร้อนอยู่ที่ 500 องศาเซลเซียส โดยไม่หลอมละลาย ไม่ลุกติดไฟ หรือเปลี่ยนรูป ตัวชุดต้องได้รับรองมาตรฐาน EN 469 หรือมาตรฐาน NFPA และมีแถบสะท้อนแสงอย่างน้อยเทียบเท่า 3 m หรือดีกว่า สีเหลืองมะนาวโดยมีแถบสะท้อนแสงสีเทาตัดชนิดกันไฟอยุ่บริเวณด้านหน้า ด้านหลัง ปลายแขน ข้อศอกทั้ง 2 ฝั่ง ปลายขาทั้ง 2 ข้างเป็นต้น
5.ถุงมือดับเพลิง มักจะใช้เป็นถุงมือชนิดผ้าขนสัตว์อย่างหนาหรือ อย่างบาง และต้องเป็นชนิดแบบสวมทั้ง 5 นิ้ว มีความทนทานต่อความร้อน เปลวไฟ รวมถึงน้ำร้อน สารเคมี และการบาดเฉือนได้ เพราะการหยิบจับอุปกรณ์และสิ่งต่างๆ ในที่เกิดเหตุอาจมีความร้อน หรือมีความแหลมคมอยู่
6.รองเท้าดับเพลิง มีทั้งบู๊ตชนิดหนังแท้ หนัง ใช้ใส่เมื่อเข้าผจญเพลิง พื้นรองเท้ามีแผ่นเหล็ก เป็นเหล็กสปริง หัวรองเท้าหุ้มด้วยเหล็กเช่นเดียวกัน ตามมาตรฐาน มอก. 523 เกี่ยวกับมาตรฐานอุตสาหกรรมผลิตรองเท้าหนังนิรภัย เพื่อแยกชั้นการซับความร้อน กันน้ำ(ร้อน) ที่มีตัวพื้นรองใน หรือวัสดุหุ้มแยกระหว่างตัวหุ้มรองเท้ากับพื้นรองเท้า เพราะในที่เกิดเหตุอาจมีวัสดุแหลมคมแทงทะลุได้
%20%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%94%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%9B%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87.png)
หากจะพูดสรุปถึงเจ้าหน้าที่ดับเพลิงแล้วล่ะก็ หน้าที่ของพวกเขาคือการถือสายยางเข้าไปฉีดดับไฟและช่วยเหลือสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ตั้งแต่คนยันสัตว์เลี้ยง ชุดของพวกเขาจึงต้องมีการออกแบบที่พิเศษขึ้นไปอีก มีการใส่น้ำยาป้องกันไฟลงในเนื้อผ้า ชุดนี้จึงมีความสามารถกันไฟได้หลายหมื่นองศาเซลเซียสได้ ทำให้ชุดมีราคาสูงถึงหลักหมื่นไปจนหลักแสน และมีอายุการใช้งานจำกัด ต้องคอยตรวจสอบซ่อมบำรุงกันเป็นระยะ และเพราะมีน้ำยาเคลือบอยู่ในเนื้อผ้า ชุดของนักดับเพลิงจึงไม่สามารถซักปกติได้ ต้องส่งไปซักกับร้านที่รับซักชุดดับเพลิงโดยเฉพาะ
ดังนั้นการปฏิบัติหน้าที่ของนักผจญเพลิงจึงเป็นเรื่องที่อัตรายอย่างมาก ในการช่วยผู้คน ฉะนั้นชุดของพวกเขาเหล่านี้จึงมีความสำคัญ และเราควรเลือกชุดที่ได้มาตรฐานรับรอง ผ่านการทดสอบจากสถาบันระดับสากล เพื่อให้มั่นใจว่าจะสามารถป้องกันชีวิตของเจ้าหน้าที่ผจญเพลิงได้
สามารถสอบถามข้อมูล ชุดดับเพลิง เพิ่มเติมได้ที่นี่
เรียบเรียงโดย Naphat K
สามารถสอบถามข้อมูล ชุดดับเพลิง เพิ่มเติมได้ที่
https://www.facebook.com/PPEMATE.Safety
Line : @ppemate หรือคลิก https://lin.ee/yyfFLmS
อ่านบทความที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมได้ที่นี่
- MICROTEX ถุงมือคุณภาพ คุ้มค่าเรื่องการป้องกัน : ตอน ถุงมือถักเคลือบ คู่งานไม้
- ประเภทของถุงมือสัมผัสสารเคมีและน้ำมันได้ มีอะไรบ้าง?
- 8 อุปกรณ์จำเป็น ที่มือใหม่อยากเที่ยวป่าต้องเตรียมก่อนท่องไพร
- เรื่องเช็ด!เช็ด!ของ Kimberly Clark สะอาดแบบนี้ต้องบอกต่อ!
- 3 ถุงมือ TOWA ถุงมือคุณภาพคู่อุตสาหกรรม
- 4 ไอเทมมีไว้การ์ดไม่ตก ปลอดภัยต้อนรับปีใหม่
- PPE (Personal Protective Equipment) มีกี่ชนิด ?
- เครื่องหมายมาตรฐานของถุงมือนิรภัยแต่ละรูป มีความหมายว่าอย่างไร?
- รู้หรือไหม ถุงมือยาง มีกี่ประเภท ? เหมาะกับงานแบบไหน ?
- รู้หรือไม่? ถุงมือ Kevlar® เป็นมากกว่าแค่ถุงมือถัก
อีกช่องทางสอบถาม หรือขอใบเสนอราคา
https://www.facebook.com/PPEMATE.Safety
Line : @ppemate หรือคลิก https://lin.ee/yyfFLmS
บทความอัพเดทล่าสุด